ไทยเริ่มดำเนินความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมนี โดยสถานอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน มีเขตอาณาครอบคลุมเยอรมนี |
หม่อมเจ้าปฤษฎางค์ ชุมสาย (พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าปฤษฎางค์) |
สถานอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลินเปิดทำการในปี พ.ศ. 2430 |
พระยาดำรงค์ราชพลขันธ์ |
พระยานนทบุรีศรีเกษตราราม
|
พระยาวิสูตรโกษา (ฟัก สาณเสน) |
พระยาศรีธรรมศาส์น (พระยาสุวรรณศิริ – ทองดี สุวรรณศิริ |
หม่อมเจ้าไตรทศประพันธ์ เทวกุล (พระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย) |
เมื่อวันที่ 22 กรกฏาคม พ.ศ. 2460 ไทยประกาศสงครามและตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมนี ต่อมาไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับเยอรมนีและเปิดสถานอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน อีกครั้งเมื่อปี 2468 |
หม่อมเจ้าดำรัสดำรงค์ เทวกุล |
หม่อมเจ้าวิบูลย์สวัสดิ์วงศ์ สวัสดิกุล |
หม่อมเจ้าดำรัสดำรงค์ เทวกุล |
พลตรี หม่อมเจ้าปรีดิเทพย์พงศ์ เทวกุล |
สถานอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน ปิดทำการในปี พ.ศ. 2475 โดยสถานอัครราชทูต ณ กรุงลอนดอน มีเขตอาณาครอบคลุมเยอรมนี |
พระยาสุพรรณสมบัติ (ติน บุนนาค) |
พลเรือโท พระยาราชวังสัน (ศรี กมลนาวิน) |
สถานอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน เปิดทำการในปี พ.ศ. 2480 |
พระสุนทรวาจนา (สุนทร สาลักษณ์) |
พลตรี ประศาสน์ ชูถิ่น (พระประศาสน์พิทยายุทธ) |
พ.ศ.2498 ยกระดับความสัมพันธ์ทางการทูตขึ้นเป็นระดับเอกอัครราชทูต โดยได้จัดตั้งสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบอนน์ มีเขตอาณาครอบคลุมเยอรมนีตะวันตก |
หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี) |
นายดิเรก ชัยนาม
|
นายกนต์ธีร์ ศุภมงคล |
พันเอก จินตน์ กุญชร ณ อยุธยา |
นายอุปดิศร์ ปาจรียางกูร |
นายแผน วรรณเมธี |
นายอานันท์ ปันยารชุน |
นายสุธี ประศาสน์วินิจฉัย |
นายโกศล สินธวานนท์ |
นายสากล วรรณพฤกษ์ |
นายประพจน์ นรินทรางกูร ณ อยุธยา |
นายกษิต ภิรมย์ |
เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2542 เปิดสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเบอร์ลิน ทดแทนสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบอนน์ หลังจากที่กรุงเบอร์ลินได้รับการสถาปนาเป็นเมืองหลวงของเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง |
นายกษิต ภิรมย์ |
นายสุรพงษ์ ชัยนาม |
นางชลชินีพันธุ์ ชีรานนท์ |
นายสรยุตม์ พรหมพจน์ |
นายจริย์วัฒน์ สันตะบุตร |
นางนงนุช เพ็ชรรัตน์ |
นายธีรวัฒน์ ภูมิจิตร |
นายณัฐวัฒน์ กฤษณามระ |
วันจันทร์ ถึง วันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุด) ระหว่างเวลา 09.00–13.00 น.
สอบถามรายละเอียดทางโทรศัพท์ ระหว่างเวลา 14.00- 17.00 น.
(โปรดตรวจสอบ เวลาให้บริการ ที่หน้า "ติดต่อเรา")